การทดลองที่ 1
     
   
The  Center-Tapped  Full-Wave   Rectifie
     
 
วงจรที่ใช้งาน  
 
                     
  วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง  
       
 
         
1. หม้อแปลงชนิดมี   Center Tapped
       
2. ตัวต้านทาน  1 K   1 ตัว
         
       

 

         
       

3.   Diode 1n4007  2 ตัว

         

วิธีการคำนวณหาค่าแรงดัน Output เมื่อหม้อแปลงทางด้านขอ Primary มีแรงดันไฟ 226 Vac และแปลงออกที่ขอ secconday 24 0 24 V

Vsec = 24 + 24 = 48 V

วัดได้จริงจากวงจร Vsec    =  49  V

จากสูตร  Vout  =  Vsec / 2  -  0.7  V

Vout =  24.5 – 0.7

ดังนั้น  Vout  =  23.8 V

 

วงจรพร้อมวัดสัญญาณที่ได้จากการSimulation

 

แรงดันที่ได้จากการ Simulation

 
 
 

เปรียบเทียบรูปสัญญาณ Output

     
     

The peak  inverse voltage  across

การคำนวณหาแรงดันสูงสุดเมื่อได้รับไบอัสย้อนกลับ

•PIV  =  2Vp(out)+0.7  V
•PIV  = (2x23.8)+0.7   V
•PIV  = 48.3  V

 

 

ข้อมูลเพิ่มเติม

วงจรฟูลเวฟเรคติไฟเออร์ (Full wave rectifier)


ข้อเสียของวงจรฮาล์ฟเวฟเรคติไฟเออร์สามารถแก้ไขได้ โดยการใช้วงจรที่เรียกว่าวงจรฟูลเวฟเรคติไฟเออร์ วงจรนี้จะต้องใช้ไดโอด 2 ตัวในวงจร เพื่อจะให้ไดโอดเกิดการนำกระแสตัวละครึ่งไซเคิลของไฟฟ้ากระแสสลับ ดังนั้นวงจรจะสามารถจ่ายกระแสไฟตรงได้เรียบ และจ่ายกระแสได้สูงกว่าแบบวงจรฮาล์ฟเวฟเรคติไฟเออร์ด้วย


รูปวงจรฟูลเวฟเรคติไฟเออร์

รูปคลื่นวงจรฟูลเวฟเรคติไฟเออร์


จากรูปวงจรฟูลเวฟเรคติไฟเออร์ เมื่อมีสัญญาณซีกบวกเข้าที่จุด A ที่ D1ได้รับไบแอสตรง ทำให้ไดโอดนำกระแส มีแรงดันตกคร่อม RL และครบวงจรที่จุด C ส่วนที่จุด B มีศักดาลบเมื่อเทียบกับจุด A ทำให้ D2ได้รับไบแอสกลับ D2ไม่นำกระแส และเมื่อสัญญาณซีกลบเข้าที่จุด A ทำให้ที่ D1ไม่นำกระแส แต่ที่จุด B จะมีศักดาบวกเมื่อเทียบกับจุด A ทำให้ D2 นำกระแส มีแรงดันตกคร่อม RL และครบวงจรที่จุด C
ดังนั้นวงจรฟูลเวฟเรคติไฟเออร์จะให้แรงดันไฟที่เอาท์พุททุก ๆ ครึ่งไซเคิลของแรงดันไฟสลับ ค่าเฉลี่ยของแรงดันเอาท์พุทจึงมีค่าเป็น สองเท่าของแรงดันไฟตรงที่ได้จากวงจรฮาล์ฟเวฟเรคติไฟเออร์

แรงดันเอาท์พุทโดยประมาณ VDC (full wave) = 0.636 VP

ถ้าคิดแรงดันตกคร่อมไดโอด
แรงดันเอาท์พุทเท่ากับ VDC (full wave) = 0.636 (VP-0.7)

 
 
Free Web Hosting